วันพฤหัสบดีที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2559

บีนทึกประจำวัน วันที่ 30 มีนาคม 2559

บีนทึกประจำวัน  วันที่ 30  มีนาคม  2559
          ไปพบวิทยากรเรื่องการเบิกค่าตอบแทน   เป็นวิทยากร กิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ กศน.ตำบลชมพู การทำตุ๊กตาจากผ้าเช็ดหน้า(การทำกระต่าย)



นำป้าย เศรษฐกิจพอเพียงที่จะเปิดไปไว้ กศน.ตำบลกล้วยแพะ   เข้า กศน.อำเภอเมืองลำปาง แก้ไขงานคำรับรองเพื่อเข้าระบบ  
จัดทำเรื่องขอนุมัติเบิกค่าตอบแทนวิทยากร                                                                                                                            

บันทึกประจำวัน วันที่ 29 มีนาคม 2559

บันทึกประจำวัน วันที่ 29 มีนาคม  2559
       เข้าพื้นที่ ตำบลกล้วยแพะจัดกิจกรรม งานตามรอยพระยุคลบาท กิจกรรมหนึ่งป่าหนึ่งชุมชน ณ ศาลาเอกนประสงค์บ้านหัวฝาย หมู่ 4 ตำบลกล้วยแพะ อำเภอเมืองลำปาง  จำนวนผูเข้าอบรม 50 คน





เวลา 16/00 น.เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง แก้ไขแผนรับรองและแผนยุทธศาสตร์ในระบบบริหารจัดการ และหาภาพกิจกรรมส่งฝ่ายแผน

วันพุธที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวัน วันที่ 28 มีนาคม 2559

บันทึกประจำวัน  วันที่ 28 มีนาคม  2559
         เข้ากศน.เมือง แก้ไขเอกสารงานงานศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน  กิจกรรมการแปรรูปถนอมอหาหาร  และขี้นระบบกิจกรรมรักการอ่าน แก้ไขอนุมัติหลักการซื้อวัสดุ   แก้ไขคำรับรองการปฏิบัติราชการแผนรับรองตามยุทธศาสตร์ ในระบบฐานข้อมูลเพื่อบริหารจัดการ 
         จัดเตรียมเอกสาร กิจกรรมงานตามรอยพระยุคลบาท

บันทึกประจำวัน วันที่ 27 มีนาคม 2559

บันทึกประจำวัน วันที่ 27 มีนาคม 2559
      เข้าพื้น ตำบลกล้วยแพะ กศน.ตำบลกล้วยแพะ นัดหมายนศ.ลงทะเบียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559   นิทศตรวจเยี่ยมการเรียนการสอนวิชาชีพ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน การทำขนมไทย

วันอาทิตย์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวัน วันที่ 26 มีนาคม 2559

บันทึกประจำวัน  วันที่ 26  มีนาคม  2559
   วันหยุด จัดทำเข้าระบบงานแผนรับรองการปฏิบัติงาน ตำบลกล้วยแพะ ประสานประธานชุมชน การจัดประชุม คณะกรรมการ ส่งเสริมประชาธิปไตยประจำคำบล

แผนปฏิบัติงานรายสัปดาห์ วันที่ 28 มีนาคม 2559 - 3 เมษายน 2559

แผนปฏิบัติงานรายสัปดาห์ วันที่ 28 มีนาคม 2559 - 3 เมษายน   2559
   
ที่
วัน/เดือน /ปี
รายการ
พื้นที่
1
28 มี.ค.59
-   เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง จัดทำเอกสารเข้าระบบ
-   สอนผู้ไม่รู้
กศน.อ.เมืองลำปาง
ตำบลกล้วยแพะ
2
29 มี.ค.59
-   เข้ากศน.ตำบล  จัดกิจกรรมงานตามรอยยุคลบาท 
- เข้า กศน.อำเภอเมืองลำปาง รายงานกิจกรรมไตรมาสขึ้นระบบ
ตำบลกล้วยแพะ


กศน.อ.เมืองลำปาง
3
30 มี.ค.59
เข้าพื้นที่ ตำบลกล้วยแพะ จัดประชุมคณะกรรมการศส.ปชต.และเปิดป้าย กศน.ตำบลกล้วยแพะ
เข้า กศน.อำเภอเมืองลำปาง  จัดทำเอกสารการเบิกเงินค่าตอบแทนวิทยากร
-  เปิดวิชาชีพ การแปรรูปถนอมอาหาร หมู่ 3 บ้านกล้วยม่วง
ตำบลกล้วยแพะ

กศน.อ.เมืองลำปาง
ตำบลกล้วยแพะ
4
31 มี.ค.59
-       เข้าพื้นที่ ตำบลกล้วยแพะจัดกิจกรรมเทดโนโลยี การลดต้นทุนเครื่องแกะกระทียม
ตำบลกล้วยแพะ
5
1 เม.ย. 59
  -  กิจกรรม ส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชนจังหวัดลำปาง
-  ฐานการทำต๊กุตาจากผ้าเช็ดหน้า
ตำบลหัวเวียง
6
1 เม.ย. 59
  -  จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชนจังหวัดลำปาง
ตำบลหัวเวียง
7
2 เม.ย. 59
-      วันหยุด  รับสมัครและลงทะเบียนนักศึกษาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
ตำบลกล้วยแพะ


บันทึกประจำวัน วันที่ 25 มันาคม 2559

บันทึกประจำวัน วันที่ 25 มีนาคม 2559
   เข้าพื้นที่ ตำบลกล้วยแพะ นำวัสดุที่จะจัดกิจกรรม หนึ่งป่าหนึ่งชุมชน งานตามราอยพระยุคลบาท ไปไว้ที่ กศน.ตำบลกล้วยแพะ
และเยี่ยมบ้าน ผู้ไม่รู้หนังสือนางสัน  บ้านหัวฝาย 
      เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง จัดทำเรื่องยืมเงินในการจัดกิจกรรมเทคโนโลยี  จัดทำบันทึกข้อความและอนุมัติหลักการจัดซื้อวัสดุงานส่งเสริมการอ่านวันที่ 1 เมษายน 2559 ขึ้นระบบ และแก้้ไขแผนรับรองในระบบ
จีดทำแผนการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ 

บันทึกประจำวัน วันที่ 24 มีนาคม 2559

บันทึกประจำวัน วันที่ 24  มีนาคม  2559
            เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง อบรมสารสนเทศ  โดยอ.กฤษณะ เจริญอรุณวัฒนา และอ.สุมลมาลย์ ก้าวกสิกรรม ครูอาสาสมัครฯ  สาระสำคัญของการอบรม
    1. รายงานผลการดำเนินงาน และไตรมาส
รายงานไตรมาส ให้รายงานไตรมาส 1 และ 3 งานพื้นฐาน งานอัธยาศัยกรอกทุกไตรมส   การคร่อมไตรมาส จะนับวันสุดท้ายของการจัดกิจกรรม  การทำฐานข้อมูลไม่คีย์ไตรมาสเนื่องจากนับเป็นแห่ง
ระบบของการทำหนังสือเวียน น่าจะพร้อมในอาทิตย์หน้า จากเดิมเซ็นด้านหลังเอกสาร ตอนนี้ให้ทำเป็นระบบรับทราบผ่านตัวโปรแกรม เช่น กศน.สบตุ๋ย จะมีเอกสารแถบสีแดงขึ้นก่อนเข้าสู่ระบบให้คลิกรับทราบ
การนำเสนอของ 1. ตำบลนิคมพัฒนา   
ผอ. กศน.อำเภอเมืองลำปาง   ให้ข้อเสนอแนะในการสรุปงาน  - 
              ผลของผู้เรียนเป็นอย่างไรในแต่ละคนให้อธิบายทั้งเรื่องความก้าวหน้า  การจัดทำเพจ ทำอะไร ทำกี่เรือง อะไรบ้าง   ให้จัดทำเป็นรูปเล่ม   มีผู้เข้าชมกี่คน  บล็อคได้ทำกี่ บล็อค  กี่เรื่องมีผู้เข้าชม กี่คน เกี่ยวกับเรื่องอะไร มีการพัฒนาปรับปรุงอย่างไร  ต้องมีการรายทุกกิจกรรมทุกๆกิจกรรม และสมบูรณ์แบบ ถ้ากิจกรรมทำไปแล้วต้องมีเป็นรูปเล่ม
วลา 10.00 น.
การชมETV

แนวทางการจัดการศึกษาเรียนร่วม ทวิภาคี
วิทยากร   ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านหลักสูตร  สุทธินี งามเขตต์
วิทยากร   หัวหน้าศึกษานอเทศ     วัลภา    อยู่ทอง
          การอบรมที่ผ่านมา  4  ครั้ง ได้จัดอบรมโดยใช้สื่อของกศน.ที่มีอยู่แล้ว มีการทดสอบก่อนอบรม และหลังอบรม ครูและผู้บริหารสามารถดูเทปย้อนหลังและศึกษาจากเอกสารได้ พัฒนาดาวโหลดดอลคอม การใช้สื่อทางไกล ผลเป็นอย่างไร
หลักสูตรการจัดการศึกษาของกศน.และปวช ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการออกแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ได้ 2 วุฒิใน 3 ปี  ต่อไปก็เป็นกระบวนการการศึกษา
ปัญหาของการเรียนร่วม  เวลาไม่ลงตัว เพราะเด็กต้องมีเวลาเรียน มีการฝึกงานทำให้การจัดการศึกษาต้องใช้เวลาเรียนมากขึ้น
การจัดแผนการเรียนนำไปสู่ผลการเทียบโอน อ.วัลภา อยู่ทอง การจัดแผนการเรียนรู้
      ปัญหาคือ  ในระบบ  ในแต่ละภาคเรียนเกินกว่า 24 ชั่วโมงต่อวันที่ต้องเรียน ต้องให้อยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง อาชีวคาบละ 60 นาที หน่วยกิจ 40 ชั่วโมงเท่ากับ 1 หน่วยกิต  มีทฤษฏีและปฏิบัติ การคิดค่าหน่วยกิจ 1 ชั่วโมงต่อ 1 หน่วยกิจ  ปฏิบัติกิจกรรม 2 สัปดาห์ 54 ชั่วโมงต่อ 1 หน่วยกิจ  ในหลักสูตรอาชีวจะกำหนดเป็นทำทฤษฏี
     กรอบโครงสร้างหลักสูตรปวช. 2556
 หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า22 หน่วยกิต โดยกศน.
1.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพไม่น้อยกว่า 71หน่วยกิต โดย สอศ.
1.1กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า (18) โดย กศน.
1.2กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ(24)
1.3กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก ไม่น้อยกว่า(21)
1.4ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ(4)
1.5โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ(4)
2.หมวดวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต  โดย กศน.
3.กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชม./สัปดาห์) หน่วยกิต  โดย กศน.
รวมระหว่าง103-120 หน่วยกิต
หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
ให้เรียนรายวิชาลำดับแรกของทุกกลุ่มวิชาหรือตามที่กลุ่มวิชากาหนดและเลือกเรียนรายวิชาส่วนที่เหลือตามที่กาหนดในแต่ละกลุ่มวิชาให้สอดคล้องหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เรียนอีก รวมไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
เรียนหลักสูตร ม.ปลาย 2551สพฐ. (รายวิชาพื้นฐาน) 41 หน่วยกิต./ กศน. (รายวิชาบังคับ) 44นก. เทียบโอนฯ สู่ ปวช.2556
2 กลุ่มวิชาภาษาไทยไม่น้อยกว่า 3 นก.
1.2กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศไม่น้อยกว่า6นก.
1.3กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า4นก.
1.4กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า4นก
1.5กลุ่มวิชาสังคมศึกษาไม่น้อยกว่า3นก.
1.6กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาไม่น้อยกว่า2นก. สามารถพัฒนาเพิ่มเติมในลักษณะจาแนกเป็นรายวิชาหรือบูรณาการ
2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 71 นก.
2.1กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 18นก.
2.2กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ24นก.
2.3กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือกไม่น้อยกว่า
21นก.2.4ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ4นก
.2.5โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ4นก.
สอนโดย สถานศึกษาอาชีวศึกษา  เทียบฯ สู่หลักสูตร สพฐ. (วิชาเพิ่มเติม) 40 นก.
หลักสูตร กศน. (วิชาเลือก)32นก.
การสำเร็จการศึกษา
•ประเมินผ่านรายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิต หมวดวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรี ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา
•ได้จานวนหน่วยกิตสะสมครบตามโครงสร้างของหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา•ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า2.00และผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ•เข้าร่วมกิจกรรมและประเมินผ่านทุกภาคเรียน

การประกันคุณภาพหลักสูตร
•ให้สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาจัดให้มีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรที่อยู่ในความรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยทุก 5ปี
1)คุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษา
2)การบริหารหลักสูตร
3)ทรัพยากรการเรียนการสอน
4)ความต้องการของตลาดแรงงาน

รงสร้างหลักสูตรกาหนด
•จัดรายวิชาในแต่ละหมวดวิชาให้ครบตามโครงสร้าง
•จัดวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตกระจายทุกภาคเรียน
•จัดวิชาชีพพื้นฐานในภาคเรียน 1-2ยกเว้นรายวิชาส่งเสริม/สนับสนุนงานอาชีพ
•จัดวิชาชีพสาขาวิชา/วิชาชีพเฉพาะในภาคเรียน 2-3เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาชีพสาขางาน/วิชาชีพเลือก

แนวทางการจัดแผนการเรียน
จัดรายวิชาตามลาดับง่าย-ยาก เป็นไปตามเงื่อนไขโครงสร้างหลักสูตรกาหนด
•จัดรายวิชาในแต่ละหมวดวิชาให้ครบตามโครงสร้าง
•จัดวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตกระจายทุกภาคเรียน
•จัดวิชาชีพพื้นฐานในภาคเรียน 1-2ยกเว้นรายวิชาส่งเสริม/สนับสนุนงานอาชีพ
•จัดวิชาชีพสาขาวิชา/วิชาชีพเฉพาะในภาคเรียน 2-3เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาชีพสาขางาน/วิชาชีพเลือก
 - จัดวิชาชีพสาขางาน/วิชาชีพเลือกในภาคเรียนที่ 2เป็นต้นไป
- จัดวิชาโครงการในภาคเรียน 5 หรือ 6
- จัดวิชาฝึกงานและรายวิชาชีพ ไปเรียนและฝึกในสถาน-ประกอบการภาคเรียนที่ 5-6
- จัดวิชาเลือกเสรีในภาคเรียนที่ 3 เป็นต้นไป
- จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร 2ชม./สัปดาห์ทุกภาคเรียน
- จัดวิชาในภาคฤดูร้อนให้พอดีกับเวลาเรียน (เทียบเคียงกันได้กับภาคเรียนปกติ ประมาณ 12นก.)
- ตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้อง
    แผนการเรียนหลักสูตรปวช    
•เวลาเรียนไม่เกิน 35ชม.ต่อสัปดาห์ รวมกิจกรรมฯ 2ชม.ต่อสัปดาห์
•ภาคปกติไม่เกิน 22หน่วยกิตต่อภาคเรียน
•ภาคปกติไม่เต็มเวลา/ภาคฤดูร้อนไม่เกิน 12 หน่วยกิต ต่อภาคเรียน
•อัตราส่วนการเรียนรู้หมวดทักษะวิชาชีพ ท.:ป. ประมาณ 20:80
รหัสวิชา  กำหนดตามรหัสหลักสูตร  ชื่อวิชา มีรายวิชาที่ต้องเรียนก่อนหรือไม่
XXXX-XXXX  1234-5678   1ระดับหลักสูตร(2=ปวช.)2ประเภทวิชา/วิชาเรียนร่วม3-4สาขาวิชา/วิชาเรียนร่วม5-6สาขางาน/กลุ่มวิชา7-8ลาดับที่วิชา
       การจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
     การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
ได้รายวิชาและจานวนหน่วยกิตสะสมในหมวดวิชาทักษะชีวิต หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรี ครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา และตามแผนการเรียนที่สถานศึกษากาหนด
2.ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.00
3.ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
4.ได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเสริมหลักสูตรและ “ผ่าน” ทุกภาคเรียน ตามแผนการเรียนที่สถานศึกษากาหนด
   การประเมินสาขาวิชาชีพ จะผ่านหรือไม่ผ่านไม่เป็นไร ขอให้เข้าสอบ
  แผนการจัดการเรียนรู้เป็นหน้าที่ของครู ตอนนี้กศน.ได้ทำรหัสไว้แล้ว ไม่ต้องคิดใหม่ ใช้เลข 8หลักคั่นด้วย 4 ตัวหลัก 
    ระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการ มีชื่อหมวดเปลี่ยนแปลงไปบ้าง  การประเมินผล คำที่ใช้ในส่วนที่ 5 ส่วนที่ 2 การประเมินเมือสิ้นสุดภาคเรียน 
    การประเมินผลการเทียบโอนผลการเรียน  การจัดทวิศึกษา เอาโครงสร้างมาเทียบ วิชาส่วนกศน.วิชาบังคับ 44 หน่วยกิต  ทักษะชีวิต 22 หน่วยกิจ  อังกฤษ 6 หน่วตกิต  อาชีวจะสอนอังกฤษให้ในวิชาเลือก  แต่ตอนหลังกศน.เพิ่มการอ่านเขียนอังกฤษ ขึ้น 2 หน่วยกิต เพื่อให้ครบ 22 หน่วยกิต สำหรับวิชาเลือกให้เอาทักษะวิชาชีพเข้าไปโอนผลการเรียน  หลักสูตร กศน.เรียน 78 หน่วยกิต
    ในการเทียบโอนผลการเรียนจากเกรดมาเป็นเกรด ตอนนี้มีการวิเคราะห์ให้แล้ว ครูต้องพิจารณาว่าเด็กได้เกรดอะไร ต้องมีเนื้อหาตรงกันร้อยละ 60  จำนวนหน่วยกิตของกศน.และอาชีวจะไม่เหมือนกับกศน.
    ในกรณีที่ได้ต่ำกว่า 2 เทียบโอนได้แต่จะได้เกรดน้อย  ถึงว่าจะประเมินผลใหม่ผลก็จะไม่ต่ำกว่าเดิมต้องดูระเบียบด้วย ถ้าต่ำกว่าเท่าไรเป็น 0 จนถึงเกรด 4 
    รูปแบบของการเทียบโอน
    การให้ค่าหน่วยกิตของกศน.และอาชีวะไม่เหมือนกัน 
    ปัญหาส่วนใหญ่จะอยู่รายวิชาบางรายวิชา ต้องเรียนเพิ่ม ซึ่งยังเป็นขั้นต่ำของอาชีว คือ 103 อาชีวะ กศน. 117
     ข้อสรุป
     โครงสร้างหลักสูตร ผลการเรียนรายวิชา ต้องนำมาเทียบโอน ครูต้องศึกษาและมีความพร้อมในหลักสูตรอะไร มีสาขาอะไรที่เปิดอยู่แล้ว เมื่อจบแล้วจะไปทำงานอะไรได้บ้าง 
     คำถาม
     สถานศึกษาสามารถจัดวิชาบังคับในปีแรก ได้หรือไม่  จะทำให้เงินงบประมาณมีปัญหา โดยหลักเรียนคู่กัน แบ่งกันในแต่ละภาคเรียน  2 หลักสูตรคู่กันไป สำหรับการเรียน เรียนกศน. 9 สัปดาห์ และอีกครึ่งเทอมไปเรียนปวช.ขึ้นอยู่กับสถานศึกษาได้ตกลงกัน
    อาชีวะ มีการเรียกเก็บการจัดการศึกษา  ปวช.เป็นการจัดการศึกษาภาคบังคับ ไม่เก็บค่าเล่าเรียน  ถ้าเป็นนอกเวลาและภาคฤดูร้อนต้องมีการเก็บ  การเก็บเงินภาคปฏิบัติขึ้นอยู่กับสาขาวิชา อาชีวะมีเงินอุดหนุน เช่น ค่าสื่อ ชุดปฏิบัติ
    ถ้าจบ ม3 ต้องเรียนแบบม.ปลายในระบบ  สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ) เรียนกศน. ก็มาสมัครที่ กศน.ประเทศ
     สัปดาห์หน้า ดูการทบทวนหลักสูตร กศน. 51 แนวทางการเรียนร่วมทวิศึกษา ขั้นตอนต่างๆ



หลังจากจบการดู รายการ ETV  การำเสนอ ครูกศน.ตำบล แะลท้ายสุดการนำเสนอของ ครูอาาสมัครฯ
     ข้อเสนอแนะ  ผอ.ห้ทำบันทึก ขอรายงานผลการปฏิบัติงานเหมือนตัวขออนุญาต
    ช่วง บ่าย  การนำเสนอของ ครูกศน.ตำบล บ่อแฮ้ว บ้านเอื้อม บ้านค่า  บุณนาคพัฒนา ห้องสมุดจังหวัด ลำปาง ต้นธงชัย เสด็จ ชมพู พิชัย บ้านแลง
     โครงการบรรณสัญจรให้ทำในเดือน พ.ค.59
     ให้ครูทำสรุปรอบ 6 เดือนให้เสร็จ และทำเบสแพกทิสของตำบล 1 อย่าง เลือกมาเล่า นอกนั้นตามรายงานกิจกรรม
      บันทึกหลังสอน และวิจัยชั้นเรียนบันทึกในระบบ bbl สเต็มศึกษา
      

บันทึกประจำวัน วันที่ 23 มีนาคม 2559

บันทึกประจำวัน  วันที่ 23 มีนาคม  2559
           เข้า กศน.อำเภอเมืองลำปาง  จัดทำเอกสารงานประกันเพื่อรับการตรวจสอบภายในจากต้นสังกัด  จัดทำเอกสารการเบิกเงินค่าตอบแนวิทยากร การทำขนมไทย  ตรวจเช็คข้อสอบปลายภาคส่งงานทะเบียน  
           เวลา  18.00 น. เข้าพื้นที่ กศน.ตำบลปงแสนทอง บ้านไร่สันติสุข ร่วมกับครูอาสาสมัครฯ นางทิพยวรรณ  เขมะจารี จีดทำประชาคม กลุ่มอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน   25  คน  วิชาการทำขนมไทย  หลักสูตร  50  ชั่วโมง  ณ ที่ทำการกลุ่ม อสม.บ้านไร่สันติสุข

บันทึกประจำวัน วันที่ 22 มีนาคม 2559

บันทึกประจำวัน วันที่ 22  มีนาคม  2559
         เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง  ถ่่ายเอกสารชุดโครงการ เพื่อแนบหลักฐานการยืมเงิน และชุดขออนุมัติจัดซืีอวัสดุ  และใบ หนังสือเชิญวิทยากร แนบเอกสารเบิกเงิน 
         แก้ไขคู่มือมาตรฐาน 6 และจัดเรียงเอกสารเข้าตู้  และจัดหาเอกสารมาตรฐานเพิ่มเติม

บันทึกประจำวัน วันที่ 21 มีนาคม 2559

บันทึกประจำวัน วันที่ 21 มีนาคม 2559
         เข้าศูนย์ กศน.อำเภอเมืงลำปาง แก้ไขเอกสารการเบิกเงินของวิทยากร  จัดทำเอกสารมาตรฐานที่ 6  
        เวลา  18.00  เข้าพื้นที่ บ้านป่ากล้วย ตำบลปงแสนทอง ร่วมกับนางทิพย์วรรณ  เขมะจารี  กลุ่มโชน เพื่อร่วมเปิดอบรมวิชาชีพการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร  ในการไปร่วมเปิดครั้งนี้ได้ช่วยในการจัดเก็บภาพกิจกรรม และนิเทศการเรียนการสอนซึ่งครูผู้รับผิดชอบประจำตำบล  ได้แนะนำวิทยากร ในเรื่อง  หลักสูตร และทำข้อตกลงร่วมกันในระหว่างเรียน   17  วัน  วิทยากรแนะนำตนเอง พร้อมอธิบายการเรียนการสอน  ภาคทฤษฏี หลักในการถนอมอาหารและแนะนำวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้ในการเรียน   
         ไปร่วมนิเทศติดตามผล การเรียนการสอนที่กศน.ปงแสนทอง  การเรียนการสอนการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร  ประธานชุมชนบ้านหมอสม มานิเทศการอบรมและได้กลับไปก่อนที่ครูในพื้นที่ไป  กิจกรรมการทำฟักเขียวเชื่อม และทำมะขามกวน ได้สอบถามปัญหา พูดคุยการสอนของวิทยากรกับกลุ่มผู้เรียน  

บันทึกประจำวัน วันที่ 20 มีนาคม 2559

บันทึกประจำวัน  วันที่ 20 มีนาคม 2559
       วันหยุด เข้าพื้นที กศน.ตำบลกล้วยแพะ ประสานประธานชุมชน หมู่ 5 บ้านกล้วยกลาง หมู 4 บ้านหัวฝาย อีก 3 ชุมชน  ประธานชุมชนไปธุระจะได้ประสานทางโทรศัพท์ เรื่องการเปิด ที่ทำการ ส่งเสริมประชาธิปไตย กศน.ตำบลกล้วยแพะ ในวันที่ 30 มีนาคม 2559

วันเสาร์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวัน วันที่ 19 มีนาคม 2559

บันทึกประจำวัน  วันที่ 19 มีนาคม 2559
    เข้า ทำงานที่ กศน.อำเภอเมืองลำปาง  ทำหน้าที่เวร ของสถทนศึกษา มีครู อาสาสมัครฯตำบลปงแสนทอง และตำบลสวนดอกมาร่วมทำงานของตนเอง ในการจัดทำตามมาตรฐานตัวบ่งชี้  
    เวลา 18.00 น.ร่วมประชุมประชาคมกับกลุ่มประชาชนและผู้สูงอายุ ณ ที่ทำการกลุ่มผู้สูงอายุ บ้านกล้วยม่วงหมู่ 3 ตำบลกล้วยแพะ อำเภอเมืองลำปาง  กิจกรรมทักษะชีวิตที่จะจัดในไตรมาส 3 กิจกรรมปั่นรักปั่นใจ ปั่นเพื่อชีวิต การประชุมประชาคมได้แลกเปลีี่ยนเรียนรู้และแสดงความคิดเห็ร่วมกับกลุ่มในเรื่องการจัดกิจกกรรม โดยกำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมประกอบด้วย
                  1. การทำสวนสมุนไพรเพื่อสุขภาพ  (จัดทำวันที่ 6 เมษายน 2559)
                  2. กิจกรรมการทำอาหรเพื่อสุขภาพ  (จัดทำวันที่ 8  เมษายน  2559
                  3. จกรรมปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ  (ปั่นทุกวัน ตอนเช้า และตอนเย็น) นอกจากนี้กลุ่มยังมีความต้องการการเรียนรู้เรื่องการแปรรูปผลผลิตประเภทการถนอมอาหารซึ่งจะได้จัดทและวางแผนการจัดกิจกรรมต่อไป  เลิกประชุมเวลา 22.00 น.



แผนปฏิบติงานรายสัปดห์ ระหว่างวันที่ 21- 27 มีนาคม 2559

แผนปฏิบัติงานรายสัปดาห์  วันที่ 21 -27 มีนาคม 2559
 
ที่
วัน/เดือน /ปี
รายการ
พื้นที่
1
21 มี.ค.59
-   เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง
-   นำเสนองานประกันตามมาตรฐาน  
-   ทำเรื่องเบิกเงิน
-   เขียนบันทึกประจำวัน
-   เข้าพื้นที่ตำบลปงแสนทอง
กศน.อ.เมืองลำปาง



ต.ปงแสนทอง
2
22 มี.ค.59
-   เข้ากศน.ตำบล
-   ทำรายงานกิจกรรมไตรมาสขึ้นระบบ ติดตามการอนุมัติกิจกรรมตามรอยพระยุคลบาท  กิจกรรมเทคโนโลยี่ ฯ ติดตามงานวัสดุที่ค้างการทำขนมไทย
-   เขียนบันทึกประจำวัน
ตำบลกล้วยแพะ
ตำบลบ่อแฮ้ว
3
23 มี.ค.59
ทำรายงานกิจกรรมไตรมาสขึ้นระบบ
เขียนบันทึกประจำวัน
-  เข้าพื้นที่ตำบลปงแสนทอง
ตำบลบ่อแฮ้ว

ต.ปงแสนทอง
4
24 มี.ค.59
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง
ร่วมอบรมระบบสารสนเทศครบวงจร พร้อมครูกศน.ตำบล
- เขียนบันทึกประจำวัน
ตำบลบ่อแฮ้ว
5
25 มี.ค.59
   -  เข้ากศน.กศน.อำเภอเมืองลำปาง
-   จัดเอกสารงานประกันคุณภาพภายใน
ตำบลกล้วยแพะ
6
26 มี.ค.59
  -  วันหยุด  

7
27    มี.ค.59
-   ลงทะเบียนและสอบซ่อมนักศึกษาภาคเรียนที่2/2558
ตำบลกล้วยแพะ