วันพฤหัสบดีที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวัน วันที่ 17 มีนาคม 2558

บันทึกประจำวัน วันที่ 17 มีนาคม 2558
     ห้องประชุม กศน.อำเภอเมืองลำปาง บรมโครงการสารเทศครบวงจร (การรายงาน)
      ประธานเปิดการอบรม ผอ.ดร.ณราวัลย์   นันต๊ะภูมิ ได้ให้ข้อคิดในการอบรมและการจัดทำงานที่เป็นระบบ  วิทยากรในการอบรม นายกฤษณะ  เจริญอรุณวัฒนา   
     จากการทำงานและเก็บงานโดยใช้ระบบของบุคลากรใน กศน.อำเภอเมืองลำปางที่ผ่านมาการทำงานมีทั้งข้อดี และปัญหาแต่ที่เป็นตัวสำคัญและปัญหาในการทำงานคือปัญหาซึ่งเป็นของหัวใจระบบทั้งหมด ข้อมูล ตัวเลข ไม่ตรงกัน การจัดทำแบบสอบก่อนการอบรมครู 19 ตำบล
    โครงการหลักหากผารงานครบ ดึมาแนบใส่ข้อด ผ่านงานต้องการตรวจสอบมีกี่กิจกรรม โครงการย่อยของตำบลขึ้นทันที่ เงิน เป้าหมาย ผลเท่าไร ผ่านเข้างาน คลิก http://goo.gl/forms/x5zJRPNkSa
     การรายงานข้อมูล (บันทึกข้อความ)
     1. เรื่อง การขออนุญาตรายงาน
     2. เลือก วันที่รายงาน
     3. ข้าพเจ้า นางสาว...........ขอรายงาน
     4. คำลงท้าย
    การรายงานตามนโยลายของรัฐและเว็บไซด์ทั้งหมด 8 ข้อ พันธกิจ กิจกรรมข้อไหน ตรงอะไร หยิบใส่ได้เลย
   หากไม่เข้าเลย ให้เลือกยัง ไม่เลือกพันธกิจ  ระบุสถานที่จัดกิจกรรม จัดที่ไหน (สามารถตามไปดูได้)
   การเอารูปเข้าไปในระบบ ใช้ 3 รูป โดย   ให้คลุมดำที่ภาพ  เลือก Resize เปิดระบบ และเลือกกิจกรรมที่รายงาน คลิกภาพที่ Resize  ตกลง
    ส่วนที่ 2 การรายงานไตรมส ให้ตำบลรายงานเอง กรอกเอง กดเข้าเพิ่มระบบ (ปรับปรุงเข้าระบบ)
    ส่วนตัวโครงการหลัก  โปรแกรมบริหารสำหรับครู (คลิกเข้าไปกิจกรรมทั้งหมดที่เราสังกัดจะขึ้นระบบทันที เลือกให้ตรงกิจกรรม กดส่ง (จะมีชื่อ โครงการ เป็นตัวสีขาว หากไม่มีโครงการ จะเป็นสีแดง
  ดูETV แนวทางการดำเนินการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการสึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
  โดย นายสุรพรษ์ จำจด เลขาธิการ กศน.
          สุทธิณี งามเขตต์  ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาหลักสูตร
           ผอ.นรา เหล่าวิชยา ผอ.กศน.จังหวัดพิษณุโลก
           ผอบุญส่ง ทองเชื่อม ผอ.กศน.อ.เมือง จังหวัดขอนแก่น
            ครูโยธิน พรหมมณี หัวหน้าครูกศน.ตำบลท่าประดู่ อ.นาทวี จ.สงขลา
  1) ทำไมจึงต้องปรับการเรียนการสอน กศ.ขั้นพื้นฐาน
- จากการจัดการศึกษาที่ผ่าน ๆ มา เราไม่ได้จัดการศึกษาโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ทำให้ประชาชนย้ายถิ่น จากชุมชนชนบทไปชุมชนเมือง ทำให้ชุมชนไม่เข้มแข็ง
- หลักสูตร กศน. 51 มีวิชาเลือกมากเกินไป เป็นปัญหาในการจัดการ
.2) ปรับอย่างไร
- วิชาบังคับจะปรับนิดหน่อย โดยจะวิเคราะห์ว่าเนื้อหาใดที่ “ต้องรู้” แล้วจะแจ้งให้ครูนำไปทำความเข้าใจกับนักศึกษา และในการออกข้อสอบปลายภาคก็จะสอบเฉพาะในเนื้อหาที่ต้องรู้นี้เท่านั้น ซึ่งจะสอดคล้องกับข้อสอบ N-NET ด้วย เพราะจะใช้ผังข้อสอบ ( Test blueprint ) และ คุณลักษณะเฉพาะของข้อสอบ ( Item specification ) เดียวกัน
- วิชาเลือก ปรับโดยแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ เลือกเสรี กับ เลือกบังคับ(ประถม 4 นก., ม.ต้น-ปลาย 6 นก.) วิชาเลือกบังคับ คือ
วิชาพลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน
วิชาการบริหารการเงินหรือเศรษฐศาสตร์ชุมชน
วิชาเลือกเสรี ให้เลือกเป็นโปรแกรมเรียน โดยใช้ชุมชนและผู้เรียนเป็นฐานในการกำหนดโปรแกรมเรียนวิชาเลือกเสรี ( สอดคล้องกับแผนจุลภาค ) เช่น ใช้อาชีพของผู้เรียนเป็นวิชาเลือก ( โปรแกรมการเลี้ยงปลา โปรแกรมการเลี้ยงกบ โปรแกรมขับรถบรรทุก โปรแกรมเสริมสวย โปรแกรมนำเที่ยวท้องถิ่น ) ใน 1 โปรแกรมอาจมี 2 วิชา หรือกี่วิชาก็ได้ที่เกี่ยวข้อง โดยนำอาชีพมาเทียบโอนได้ส่วนหนึ่ง และเรียนเพิ่มเพื่อพัฒนาอาชีพ
ซึ่งสถานศึกษาต้องปรับหลักสูตรสถานศึกษา และผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการสถานศึกษา
การวัดผลประเมินผลวิชาเลือกเสรี รวมทั้งสัดส่วนคะแนนระหว่างภาคกับปลายภาคของวิชาเลือกเสรี ให้สถานศึกษากำหนดเอง โดยปรับระเบียบการวัดผลประเมินผลของสถานศึกษา ( อาจวัดผลจากภาคปฏิบัติ ถ้าจะสอบข้อเขียน เน้นให้สอบแบบอัตนัย ข้อเดียวก็ได้ )
โปรแกรมเรียนวิชาชีพเดียวกัน ต้องมีความแตกต่างกันในระดับประถม ม.ต้น ม.ปลาย
สื่อแบบเรียนวิชาเลือกเสรีที่สถานศึกษาพัฒนาขึ้น ให้จังหวัดเป็นผู้ตรวจ
การขอออกรหัสวิชาเลือกเสรี ให้ผ่านการพิจารณาของ สนง.กศน.จังหวัด
.
3) ปรับเมื่อไร
เริ่ม ภาคเรียนที่ 1/59 รับลงทะเบียนตั้งแต่ เม.ย.59 แต่ ภาคเรียนที่ 1/59 ยังพัฒนาโปรแกรมเรียนวิชาเลือกเสรีไม่เสร็จ ให้เรียนเฉพาะวิชาบังคับกับวิชาเลือกบังคับก่อน
( นศ.เก่า สามารถจะเข้าสู่โปรแกรมเรียนใหม่ได้เลย )
นัดหมายการอบรมครั้งต่อไปวันที่ 28 มีค 59
การรีไชด์ภาพ
ผอ. หลังเสร็จสิ้นกิจกรรมขอให้รายงานผลทันที รายงานที่ผ่านเว็บให้เขียนใครทำอะไรที่ไหนอย่างไร ก่อนจะเอาขึ้นให้อ่านและเขียนข้อความก่อนเอาขึ้น   การรายงานถ้าเป็นรูปเล่มมีแนบไฟล์ไหม่ ทำตรงวัตถุประสงค์ กระบวนการเป็นอย่างไร เข้าแนวเศรษฐกิจ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข อย่างไร
งานของกลุ่ม หรือห้องสมุด ทุกครั้งที่มีการอบรมให้สรุปด้วย ทุกกิจกรรมให้มีการรายงานด้วย
อ.กฤษณะ จุดสำคัญของรายงาน คือความการรายงาน เพราะเป็นการบรรยายการจัดกิจกรรม ประมาณ 2 หน้า
จากก็เป็นการแสดงความคิดที่ได้จากการอบรมวันนี้ของคณะครูกศน.ตำบลและผู้บริหาร

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น