เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง จัดทำแก้ไขงานของตนเองเรื่องกลุ่มวิชาชีพต่างๆ และรับชมรายการถ่ายทอดการประชุมชี้แจง จากเลขาธิการ กศน. นายสุรพงษ์ จำจด สาระของการประชุม -
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินของสำนักงานกศน.เพื่อให้เป็นไปเทิศทางเดียวกัน
โดยมี มีผู้บริหารเข้าร่วมต่ำกว่า 1,000 คน
ผู้อำนวยการทุกจังหวัด ผู้อำนวยการกศน.ทุกแห่งโดย
1.กรอบยุทธศาตร์ ปี 59 การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย กลุ่มเป้าหมายไปสร้างความเข้มแข็งให้เข้า เช่นสร้างความรู้ ความเข้าใจกับเข้า ให้กับคณะกรรมการกศน.ตำบล
2 งบประมาณ หมวดอุดหนุน เงินเดือน หมวดต่างๆ มาแล้ว ซึ่งจะนำเอานโยบายของรัฐบาลสู่กรอบ
แผนเป็นหลักในการปฏิบัติงาน การชี้แจงแผนปี 59 มี 2 แบบ
แบบที่ 1 ตัวกรอบงานในเชิงปริมาณ งานปกติมีอะไรบ้าง
แบบที่ 2 โครงการที่สำคัญต้องทำร่วมกันในปีงบประมาณ 59 รวมเป็นปฏิทินแผนการปฏิบัติงานประจำปี
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกะทยวงศึกษาธิการ (พลเอกดาวพงษ์ รัตนสุวรรณ) ที่เกี่่ยวกับสำนักงานกศน.
1. การแปลงพระราชดำรัสเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาไปเป็นแผนงานโครงการ
6. การยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในทุกหลักสูตร
8. การแก้ไขปัญหาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
9. การแก้ไขปัญหาการทุจริต
18. จัดโครงการติวเข้มเติมเต็มความรู้
19.จัดโครงการเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย
20.ส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
21.ให้กศน.ตำบลเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการเชื่อมประสานระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน
24. การลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
กรอบคิดการจัดการศึกษาตลอดชีวิต โดยใช้กศน.ตำบลเป็นฐาน กลุ่มเป้าหมายที่รับผิดชอบ คือ
1.กรอบยุทธศาตร์ ปี 59 การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย กลุ่มเป้าหมายไปสร้างความเข้มแข็งให้เข้า เช่นสร้างความรู้ ความเข้าใจกับเข้า ให้กับคณะกรรมการกศน.ตำบล
2 งบประมาณ หมวดอุดหนุน เงินเดือน หมวดต่างๆ มาแล้ว ซึ่งจะนำเอานโยบายของรัฐบาลสู่กรอบ
แผนเป็นหลักในการปฏิบัติงาน การชี้แจงแผนปี 59 มี 2 แบบ
แบบที่ 1 ตัวกรอบงานในเชิงปริมาณ งานปกติมีอะไรบ้าง
แบบที่ 2 โครงการที่สำคัญต้องทำร่วมกันในปีงบประมาณ 59 รวมเป็นปฏิทินแผนการปฏิบัติงานประจำปี
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกะทยวงศึกษาธิการ (พลเอกดาวพงษ์ รัตนสุวรรณ) ที่เกี่่ยวกับสำนักงานกศน.
1. การแปลงพระราชดำรัสเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาไปเป็นแผนงานโครงการ
6. การยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในทุกหลักสูตร
8. การแก้ไขปัญหาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
9. การแก้ไขปัญหาการทุจริต
18. จัดโครงการติวเข้มเติมเต็มความรู้
19.จัดโครงการเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย
20.ส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
21.ให้กศน.ตำบลเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการเชื่อมประสานระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน
24. การลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
กรอบคิดการจัดการศึกษาตลอดชีวิต โดยใช้กศน.ตำบลเป็นฐาน กลุ่มเป้าหมายที่รับผิดชอบ คือ
- ช่วงอายุ 15-59
ปี ผู้พลาดและขาดโอกาส
- และอายุ 60 ปีขึ้นไป รวม 50 ล้านคน กลุ่มพิเศษ
เช่น ชาวไทยภูเขา ออกกลางคัน
- ผู้ไม่รู้หนังสือ ล้านแปด คน แต่กศน. สำรวจ สานแสน แต่ปีนี้ แปดหมื่นคน คือเป้า แต่สามารถทำเกินเป้าได้
-- ไม่จบการศึกษาภาคบังคับ ยี่สิบเจ็ดล้านคน ไม่จบ 9 ปี และ 12 ปี รวม 36 ล้านคน
- ผู้ไม่รู้หนังสือ ล้านแปด คน แต่กศน. สำรวจ สานแสน แต่ปีนี้ แปดหมื่นคน คือเป้า แต่สามารถทำเกินเป้าได้
-- ไม่จบการศึกษาภาคบังคับ ยี่สิบเจ็ดล้านคน ไม่จบ 9 ปี และ 12 ปี รวม 36 ล้านคน
1. อายุ 15 ปี ขึ้นไปที่ไมีจบการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 27,318,600
คน
2. อายุ 15 ปีขึ้นไปที่ไม่จบการศึกษาชั้นพื้นาน จำนวน 9,786,700 คน
จากแผนการพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับบที่ 11 พ.ศ. 2555 - 2559 และในปี 2556 สถิติแห่งชาติประเมิน การอ่านคนไทยอยู่ 37 นาที ต่อคน ต่อ ปี คิดเป็นเปอร์เซนต์อยู่ที่ร้อยละ 81.1 ทำให้มีความยากจน ขาดทักษะชีวิต คุณภาพการศึกษาต่ำ สังคม เหลื่อมล้ำทาง ขาดความสามัคคี (ควรใช้การศึกษาตลอดชีวิต)
- ในส่วนของการศึกษาระดับชาติ ควรสังคมแห่งการเรียนรู้ชีวิต ทำให้คนคิดเป็น รักการอ่าน ทำให้ประชาชนมีความเพียง รู้จักแสวงหาความรู้ สืบค้นเป็น เข้าหาสื่อ มีจิตสาธารณะ
- ระดับชุมชน ชุมชนเข้มแข็ง
งานกศน. ประกอบด้วย งานการศึกษาตามอัธยาศัย หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข หลักปรัชญา คิดเป็น (ดร.โกวิทย์ รัตนพิพัฒน์) คนคิดเป็นคือ คนที่มีความสามารถหรือศักยภาพในการตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆได้
2. อายุ 15 ปีขึ้นไปที่ไม่จบการศึกษาชั้นพื้นาน จำนวน 9,786,700 คน
จากแผนการพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับบที่ 11 พ.ศ. 2555 - 2559 และในปี 2556 สถิติแห่งชาติประเมิน การอ่านคนไทยอยู่ 37 นาที ต่อคน ต่อ ปี คิดเป็นเปอร์เซนต์อยู่ที่ร้อยละ 81.1 ทำให้มีความยากจน ขาดทักษะชีวิต คุณภาพการศึกษาต่ำ สังคม เหลื่อมล้ำทาง ขาดความสามัคคี (ควรใช้การศึกษาตลอดชีวิต)
- ในส่วนของการศึกษาระดับชาติ ควรสังคมแห่งการเรียนรู้ชีวิต ทำให้คนคิดเป็น รักการอ่าน ทำให้ประชาชนมีความเพียง รู้จักแสวงหาความรู้ สืบค้นเป็น เข้าหาสื่อ มีจิตสาธารณะ
- ระดับชุมชน ชุมชนเข้มแข็ง
งานกศน. ประกอบด้วย งานการศึกษาตามอัธยาศัย หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข หลักปรัชญา คิดเป็น (ดร.โกวิทย์ รัตนพิพัฒน์) คนคิดเป็นคือ คนที่มีความสามารถหรือศักยภาพในการตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆได้
ความเชื่อ
1. มนุษย์มีความเชื่อและความคิดที่แตกต่างกัน
1. มนุษย์มีความเชื่อและความคิดที่แตกต่างกัน
2. มีความต้องการที่เหมือนกัน คือความสุข
3. มนุษย์เป็นสัตว์สังคม สามารถอยู่ร่วมกันได้
3. มนุษย์เป็นสัตว์สังคม สามารถอยู่ร่วมกันได้
ข้อมูลมี 3 ประเภท
1. ข้อมูลตนเอง
2. ข้อมูลวิชาการ
3. ข้อมูลทางสังคม ปัจจุบันข้อมูลที่นำมาใช้ส่วนใหญ่ คือ ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลทางสังคม แต่ขาดการนำข้อมูลของตนเองมาใช้ ดังนั้นให้ กศน. จัดการเรียนการสอน การทำบัญชีครัวเรือน และ
การศึกษาพื้นฐาน เป้าหมาย
ยกระดับการศึกษาของคน จากระดับ ประถม ----------มัธยมศึกษาตอนต้น -------------------มัธยมศึกษาตอนปลาย ทำได้ 2 วิธี
1. มาเรียนเอาตรง
แยกเป็นวิธีเรียน เช่นพบกลุ่ม ทางไกล โดยสื่อบุคล สื่อแบบเรียน
สื่อที่ดีที่สุดคือสื่อที่เรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยี วิทยุ โทรทัศน์ หรือ
ETV ต้องใช้คำถามประเด็นปลายเปิดที่ครูต้องตั้งไปสร้างเป็นภาพ
2. และเรียนอ้อม (มีการประเมิน) ไม่ได้มุ่งวุฒิเป็นตัวตั้ง เพียงเอาความรู้ไปพัฒนาความรู้ พัฒน ทักษะชีวิต
ประกอบอาชีพ เช่น อาชีพ เอาชีวิตเป็นตัวตั้ง
เอาความมั่นคงอาชีพเป็นตัวตั้ง ท้ายสุดให้กศน.ตำบลออกแบบ การศึกษาต่อเทียบโอนต่อเนื่อง
ให้คนได้เรียนรู้ตลอดชีวิต เป้าหมายมี 4 เรื่อง
1.อาชีพพื้นฐาน
ช่างในบ้านมีอะไรบ้างสอนในนั้นแหละ เช่น แอร์ ไฟฟ้า
การซ่อมสามารถเป็นอาชีพได้เช่นกัน
2. ต่อยอดอาชีพเดิม เช่น พิษณุโลก กล้วยตาก เขามีการต่อยอดแพ็กกิ่ง จนเป็นที่ยอมรับ
3. ทักษะชีวิต เช่น ความสามารถในการตัดสินใจ (ใช้หลักการจัดของยูเนสโก 10 ประการ)
4. พัฒนาสังคมและชุมชน สร้างให้คนเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5. เทคโนโลยีที่เหมาะสม ต้องการให้คนเรียนรุ้ปรับตัวเข้ากับเทคโนโนโลยี เพื่อให้เกิดประหยัดพลังงาน มาจาก ภูมิปัญญา + ภูมิปัญญา เป็นเทคโนโลยี เรื่องโลกร้อน การเก็บพืชผล ลดต้นทุน กศน.ควรสอนให้คนรู้จักใช้ จัดผ่านกิจกรรมกศน.อยู่ 3 แแบ
6. การฝึกอบรม สามารถจ่ายค่าอาหารได้
- กลุ่มสนใจ คือ การจัดวิชาชีพ ทักษะวิชาชีพให้จ้ดระยะสั้น ไม่เกิน 30 ชั่วโมง ให้เบิกค่าวัสดุได้
หรือจะจัดทักษะชีวิตเป็นกลุ่มสนใจ ก็สามารถทำได้
2. ต่อยอดอาชีพเดิม เช่น พิษณุโลก กล้วยตาก เขามีการต่อยอดแพ็กกิ่ง จนเป็นที่ยอมรับ
3. ทักษะชีวิต เช่น ความสามารถในการตัดสินใจ (ใช้หลักการจัดของยูเนสโก 10 ประการ)
4. พัฒนาสังคมและชุมชน สร้างให้คนเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5. เทคโนโลยีที่เหมาะสม ต้องการให้คนเรียนรุ้ปรับตัวเข้ากับเทคโนโนโลยี เพื่อให้เกิดประหยัดพลังงาน มาจาก ภูมิปัญญา + ภูมิปัญญา เป็นเทคโนโลยี เรื่องโลกร้อน การเก็บพืชผล ลดต้นทุน กศน.ควรสอนให้คนรู้จักใช้ จัดผ่านกิจกรรมกศน.อยู่ 3 แแบ
6. การฝึกอบรม สามารถจ่ายค่าอาหารได้
- กลุ่มสนใจ คือ การจัดวิชาชีพ ทักษะวิชาชีพให้จ้ดระยะสั้น ไม่เกิน 30 ชั่วโมง ให้เบิกค่าวัสดุได้
หรือจะจัดทักษะชีวิตเป็นกลุ่มสนใจ ก็สามารถทำได้
และในภาคบ่าย ร่วมประชุมงานหลวงพ่อเกษม เรื่องการเก็บข้อมูลที่ แต่ละบุคคลได้เซนทราบตามที่แบ่งกลุ่ม จากนั้นหัวหน้า กลุ่มจัดฯ อาจารย์ยุรัยยา ให้ ครูรายงานข้อมูลทางบล็อคเป็นปัจจุบันด้วยการคีย์ข้อมูล ให้คีย์ตามรหัสผ่านเข้าระบบถึงวันที่ 30 พ.ย.59
นำนโยบายสู่การปฎิบัติได้เลยคะ
ตอบลบ